Density Balance เครื่องชั่งวิเคราะห์ความถ่วงจำเพาะ

โดยการทดสอบความถ่วงจำเพาะโดยแบบใช้เครื่องชั่งเพื่อวิเคราะห์หาความถ่วงจำเพราะนั้นจะทำการทดสอบตามมาตราฐานทดสอบ ASTM D792 โดยใช้เครื่องชั่งอ่านละเอียดสูงและชุดทดสอบหาความถ่วงจำเพาะเพื่อทดสอบแต่วิธีการทดสอบแบบนี้จะเหมาะกับชิ้นงานขนาดกว้างและยาง 2 มิลลิเมตรขึ้นไป

ขั้นตอนการตรวจวัดความหนาแน่น

วิธีการลอยตัว – การใช้หลักการของอาร์คิมิดีส

หลักการของอาร์คิมิดีสระบุว่า วัตถุที่จุ่มลงในของเหลวบางส่วนหรือทั้งหมดจะมีแรงลอยตัวกระทำกับวัตถุนั้นในทิศทางพยุงขึ้น โดยที่แรงมีขนาดเท่ากับ
น้ำหนักของของเหลวที่วัตถุนั้นเข้ามาแทนที่

 

มีการชั่งน้ำหนักของแข็งในอากาศ (A) และชั่งน้ำหนักอีกครั้ง (B) ในของเหลวเสริมที่ทราบความหนาแน่น โดยสามารถคำนวณความหนาแน่นของของแข็ง ρ ได้ดังต่อไปนี้

ρ        = ความหนาแน่นของตัวอย่าง

A        = น้ำหนักของตัวอย่างในอากาศ

B        = น้ำหนักของตัวอย่างในของเหลวเสริม

ρ0       = ความหนาแน่นของของเหลวเสริม

ρL       = ความหนาแน่นของอากาศ

ในการคำนวณดังกล่าว ต้องพิจารณาถึงอุณหภูมิของของเหลวด้วย เนื่องจากสามารถทำให้ความหนาแน่นเปลี่ยนแปลงไปที่ระดับขนาด 0.001 ถึง 0.1 ต่อ °C โดยจะเห็นผลกระทบได้จาก
จุดทศนิยมตำแหน่งที่สามของผลลัพธ์ที่ได้
 

วิธีการเหมาะสำหรับข้อดีข้อเสีย

 การชั่งน้ำหนัก การลอยตัวการชั่งน้ำหนัก การแทนที่พิคโนมิเตอร์เครื่องวัดความหนาแน่นแบบดิจิทัล
ตั้งบีกเกอร์ของเหลวเสริมบนแท่นหรือใต้เครื่องชั่งตั้งบีกเกอร์ของเหลวเสริมบนเครื่องชั่งบีกเกอร์แก้วตามปริมาตรที่ระบุเทคโนโลยีหลอดสั่น
  • ของแข็ง
  • ของเหลว (โดยใช้ตัวถ่วงแก้ว)
  • สารประเภทแป้งเปียก (โดยใช้ลูกตุ้มแกมมา)
  • ของเหลว (โดยใช้ตัวถ่วงแก้ว)
    ของแข็ง
  • ของเหลว การกระจาย
  • ผง
  • เม็ดขนาดเล็ก
  • ของเหลว
  • ก๊าซ
  • กระบวนการที่รวดเร็ว
  • มีความยืดหยุ่นในแง่ของขนาดตัวอย่าง
  • มีเครื่องมือชั่งน้ำหนักพร้อมแล้ว
  • กระบวนการที่รวดเร็ว
  • มีเครื่องมือชั่งน้ำหนักพร้อมแล้ว
  • วิธีการที่ถูกต้อง
  • มีเครื่องมือชั่งน้ำหนักพร้อมแล้ว
  • กระบวนการที่รวดเร็ว
  • การควบคุมอุณหภูมิที่แน่นอนโดยองค์ประกอบเพลเทียร์
  • การตรวจวัดความหนาแน่นแบบอัตโนมัติ
  • ตัวอย่างมีปริมาตรน้อย
  • ไวต่ออุณหภูมิ
  • ต้องทำตัวอย่างให้เปียกด้วยความระมัดระวังอย่างมาก
  • ต้องไม่มีฟองอากาศ
  • ไวต่ออุณหภูมิ
  • ต้องใช้ตัวอย่างจำนวนมาก
  • ไวต่ออุณหภูมิ
  • ใช้คนจำนวนมาก
  • ใช้เวลานาน
  • ต้องไม่มีฟองอากาศ
  • ตัวอย่างหนืดต้องมีการแก้ไขความหนืด (ทำได้ในเครื่องมือที่ทันสมัย)